กศน.ตำบลเนินมะกอก หมู่ 12 บ้านสายหกพัฒนา ต.เนินมะกอก อ.พยุหะคีรี จ.นครสวรรค์ 60130 056-431504 094-0014936 08.30 น. - 16.30 น.
ครู กศน.ตำบลเนินมะกอก

128557677 216746703237345 8173356735280948121 n

นางสาวรัตติกาล  ต้านทาน

ตำแหน่ง ครู กศน.ตำบลเนินมะกอก

 เบอร์โทร 094-0014936

173015811 295761035263297 1389067186681539045 n 

นางสาวกานต์พิชชา  ทัพน้อย

ตำแหน่ง ครูอาสา

 เบอร์โทร 

 

แพลตฟอร์ม กศน.นครสวรรค์

จำนวนผู้เข้าใช้งานเว็บไซต์
097180
วันนี้
เมื่อวานนี้
สัปดาห์นี้
สัปดาห์ที่แล้ว
เดือนนี้
เดือนที่แล้ว
ผู้เข้าชมทั้งหมด
86
144
1087
95481
2832
2250
97180

Your IP: 192.168.1.1
2024-12-26 23:40

ยายไม01

 

ชื่อนาง    ไม                  สกุล    แป้นแก้ว                อายุ 73 ปี

 วัน เดือน ปีเกิด 3 ส.ค.2492 ที่อยู่ปัจจุบัน (ที่สามารถติดต่อได้)  บ้านเลขที่ 236/1 บ้านสายหกพัฒนา หมู่ที่ 12

ตำบล เนินมะกอก       อำเภอ พยุหะคีรี       จังหวัด นครสวรรค์         รหัสไปรษณีย์   60130

วุฒิการศึกษา    ป.4     โทร 081-2846577     

ความเป็นมาของบุคคลคลังปัญญา     เริ่มต้นจากการสมัครเรียนอาชีพ วิชาการทำไม้กวาด กับ กศน.อำเภอพยุหะคีรี   จนจบหลักสูตรและได้ฝึกฝนจนเกิดความชำนาญ พร้อมกับทำขายเป็นอาชีพเสริม จนกระทั้ง   มียอดการสั่งซื้อมากขึ้น จึงยึดเป็นอาชีพหลัก โดยการขายปลีกและขายส่ง อีกทั้งยังพัฒนาตนเองเป็นวิทยากรสอนอาชีพการทำไม้กวาดดอกหญ้า โดยเป็นวิทยากรสอนอาชีพให้กับหน่วยงานต่างๆ เช่น กศน. อบต. พัฒนาชุมชน ฯลฯ 

ประสบการณ์การทำงาน   มากกว่า 10 ปี 

การทำงานปัจจุบันทำไม้กวาดทางมะพร้าว ขายส่งและปลีก

ประเภทภูมิปัญญา   การทำไม้กวาดทางมะพร้าว                                    

จุดเด่นภูมิปัญญา ไม้กวาดทางมะพร้าวจัดว่าเป็นไม้กวาดสามัญประจำบ้านที่สามารถพบได้แทบทุกบ้านในประเทศไทย จุดเด่นคือ ความทนทานและสามารถใช้งานได้นาน เหมาะอย่างยิ่งกับการกวาดพื้นภายนอกอาคาร สามารถใช้งานบนพื้นที่ขรุขระได้ดี รวมไปถึงกวาดน้ำได้อีกด้วย                 

การพัฒนาต่อยอด การทำไม้กวาดทางมะพร้าว สามารถยึดเป็นอาชีพเสริม/อาชีพหลัก เพื่อสร้างอาชีพเพิ่มพูนรายได้ให้ตนเองและครอบครัวได้                                                                                                

องค์ความรู้ด้านอื่น ๆ     การทำดอกไม้จันทน์   การพับเหรียญโปรยทาน                                                       

ความร่วมมือกับ กศน. เป็นวิทยากรสอนอาชีพ โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน หลักสูตรการทำไม้กวาดทางมะพร้าว  วิชาการทำไม้กวาดทางมะพร้าว ให้กับประชาชนในชุมชน 

รูปแบบและลักษณะการถ่ายทอด การประชาสัมพันธ์ เผยแพร่ภูมิปัญญาท้องถิ่น (ที่สะท้อนความน่าเชื่อถือ การยอมรับผ่านบุคคล/ชุมชน/องค์กร/รางวัล/ใบประกาศ/การจดทะเบียนลิขสิทธิ์ สื่อดิจิทัล/เอกสารเผยแพร่ แผ่นพับ คลิป(VDO) ฯลฯ)

  • เคยเผยแพร่เฉพาะในชุมชน

มีการนำไปใช้    ในพื้นที่    20 คน      นอกพื้นที่         10      คน

 

 

 ยายไม01ยายไม002


 

 

 

31321 2

การสานตะกร้าด้วยเชือกฟาง

วัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ผลิต

๑. เชือกมัดฟาง

๒. กรรไกร

๓. เข็มเย็บกระสอบ

๔. ไฟแช๊ค

๕. โครงเหล็กทำตะกร้า หรือลวดขนาดใหญ่

วิธีการคัดเลือกวัสดุอุปกรณ์

     เลือกเชือกมัดฟางแบบสำเร็จรูปตามขนาดและสีที่ต้องการ

เลือกโครงเหล็กตะกร้าที่ดัดโครงตามขนาดและรูปแบบที่ต้องการ

วัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ผลิต

๑. เชือกมัดฟาง

๒. กรรไกร

๓. เข็มเย็บกระสอบ

๔. ไฟแช๊ค

๕. โครงเหล็กทำตะกร้า หรือลวดขนาดใหญ่

วิธีการคัดเลือกวัสดุอุปกรณ์

     เลือกเชือกมัดฟางแบบสำเร็จรูปตามขนาดและสีที่ต้องการ

เลือกโครงเหล็กตะกร้าที่ดัดโครงตามขนาดและรูปแบบที่ต้องการ

ขั้นตอนวิธีการผลิต

๑. เริ่มแรกนำเชือก ๑ เส้นมาตีให้แตกแล้วนำมาพันรอบโครงเหล็กตะกร้าให้มิดทั้งใบ

๒. ขึ้นขอบของโครงเหล็กให้รอบทั้งก้นและปากของตะกร้า โดยการสานหรือผูกเชือกมัดฟางแบบผูกไขว้ สลับซ้ายและขวา

๓. ร้อยเชือกสานก้นตะกร้า โดยใช้เชือกสอด ๑ ช่อง เว้น ๑ ช่อง แล้วเอาเชือกสองเส้นคู่หรือสี่เส้น นำมาผูกกันหรือสานให้เต็มส่วนก้นตะกร้าเป็นลายขัด

๔. ร้อยเชือกถักขึ้นลายขอบ การถักลวดลาย คือการขึ้นลายของขอบตะกร้าโดยใช้เชือกมัดฟาง ใส่หนึ่งเส้น เว้น ๑ ช่อง จะเป็นหนึ่งตัวของสี่เส้น แล้วนำมาผูกหรือสานให้เป็นลายดอก แล้วจะขึ้นลวดลายตามแบบลายที่ต้องการ ถักจนเต็มถึงก้นตะกร้าแล้วมัดติดกับส่วนล่างของก้นตะกร้า และตัดเชือกด้วยไฟแช็คเพื่อไม่ให้เชือกลุ่ย ทำการถักสานจนเสร็จทั้งใบ

๕. ร้อยเชือกถักหูตะกร้า โดยถักเชือกในส่วนของด้านข้างหูจับตะกร้าจะถักเป็นลายเกลียว วิธีคือเริ่มถักจากด้านใดด้านหนึ่งก่อนแล้วลายจะหมุนเป็นลายเกลียว ส่วนด้านบนของตัวจับตะกร้า จะถักสลับซ้ายขวา จะได้เป็นสันบริเวณขอบหูและนำเชือกมาถักบริเวณด้านบนของหูจับ เป็นลายสันปลาช่อน เป็นการเสร็จขั้นตอน

 

 

 

31321 2

การสานตะกร้าด้วยเชือกฟาง

วัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ผลิต

๑. เชือกมัดฟาง

๒. กรรไกร

๓. เข็มเย็บกระสอบ

๔. ไฟแช๊ค

๕. โครงเหล็กทำตะกร้า หรือลวดขนาดใหญ่

วิธีการคัดเลือกวัสดุอุปกรณ์

     เลือกเชือกมัดฟางแบบสำเร็จรูปตามขนาดและสีที่ต้องการ

เลือกโครงเหล็กตะกร้าที่ดัดโครงตามขนาดและรูปแบบที่ต้องการ

วัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ผลิต

๑. เชือกมัดฟาง

๒. กรรไกร

๓. เข็มเย็บกระสอบ

๔. ไฟแช๊ค

๕. โครงเหล็กทำตะกร้า หรือลวดขนาดใหญ่

วิธีการคัดเลือกวัสดุอุปกรณ์

     เลือกเชือกมัดฟางแบบสำเร็จรูปตามขนาดและสีที่ต้องการ

เลือกโครงเหล็กตะกร้าที่ดัดโครงตามขนาดและรูปแบบที่ต้องการ

ขั้นตอนวิธีการผลิต

๑. เริ่มแรกนำเชือก ๑ เส้นมาตีให้แตกแล้วนำมาพันรอบโครงเหล็กตะกร้าให้มิดทั้งใบ

๒. ขึ้นขอบของโครงเหล็กให้รอบทั้งก้นและปากของตะกร้า โดยการสานหรือผูกเชือกมัดฟางแบบผูกไขว้ สลับซ้ายและขวา

๓. ร้อยเชือกสานก้นตะกร้า โดยใช้เชือกสอด ๑ ช่อง เว้น ๑ ช่อง แล้วเอาเชือกสองเส้นคู่หรือสี่เส้น นำมาผูกกันหรือสานให้เต็มส่วนก้นตะกร้าเป็นลายขัด

๔. ร้อยเชือกถักขึ้นลายขอบ การถักลวดลาย คือการขึ้นลายของขอบตะกร้าโดยใช้เชือกมัดฟาง ใส่หนึ่งเส้น เว้น ๑ ช่อง จะเป็นหนึ่งตัวของสี่เส้น แล้วนำมาผูกหรือสานให้เป็นลายดอก แล้วจะขึ้นลวดลายตามแบบลายที่ต้องการ ถักจนเต็มถึงก้นตะกร้าแล้วมัดติดกับส่วนล่างของก้นตะกร้า และตัดเชือกด้วยไฟแช็คเพื่อไม่ให้เชือกลุ่ย ทำการถักสานจนเสร็จทั้งใบ

๕. ร้อยเชือกถักหูตะกร้า โดยถักเชือกในส่วนของด้านข้างหูจับตะกร้าจะถักเป็นลายเกลียว วิธีคือเริ่มถักจากด้านใดด้านหนึ่งก่อนแล้วลายจะหมุนเป็นลายเกลียว ส่วนด้านบนของตัวจับตะกร้า จะถักสลับซ้ายขวา จะได้เป็นสันบริเวณขอบหูและนำเชือกมาถักบริเวณด้านบนของหูจับ เป็นลายสันปลาช่อน เป็นการเสร็จขั้นตอน