3909 อบต.เขาทอง หมู่ 5 ต.เขาทอง อ.พยุหะคีรี จ.นครสวรรค์ 60130 0932488115 waliwichai@hotmail.com 09.00 - 24.00
ครู กศน.ตำบลเขาทอง

รูป1 page 0001

นายพีรวิชญ์  วลีวิชัย

ตำแหน่ง ครู กศน.ตำบลเขาทอง

 เบอร์โทร 0932488115

 

นาย

ตำแหน่ง ครูอาสา

 เบอร์โทร 

นาย

ตำแหน่ง ครูอาสา

 เบอร์โทร 

แพลตฟอร์ม กศน.นครสวรรค์

จำนวนผู้เข้าใช้งานเว็บไซต์
028122
วันนี้
เมื่อวานนี้
สัปดาห์นี้
สัปดาห์ที่แล้ว
เดือนนี้
เดือนที่แล้ว
ผู้เข้าชมทั้งหมด
2
25
56
27932
294
666
28122

Your IP: 192.168.1.1
2025-01-14 07:40

 BeautyPlus 20170811215507 save

 

นักศึกษาที่มีรายชื่อเตรียมสอบ  N-net 7 มีนาคม 64 แต่งกายให้เรียนร้อยดังนี้ 

นักศึกษาชาย เสื้อสีขาว กางเกงขายาวสีดำ/น้ำเงิน 

รองเท้าผ้าใบ 

บัตรประชาชน / บัตรนักศึกษา

ดินสอ 2 B ยางลบ

นักศึกษาหญิง  เสี้อสีขาว /กระโปร่งสีดำ/น้ำเงิน

รองเท้าหุ้มส้น

บัตรประชาชน/บัตรนักศึกษา

ดินสอ 2 B ยางลบ

ข้อมูลพื้นฐาน กศน.ตำบลเขาทอง

 

ชื่อสถานศึกษา กศน.ตำบลเขาทอง

ที่ตั้ง/การติดต่อ เลขที่ 3909 หมู่ 5   ตำบลเขาทอง  อำเภอพยุหะคีรี จังหวัดนครสวรรค์ 60130    เบอร์โทรศัพท์ 096 2488 115 Email : This email address is being protected from spambots. You need JavaScript enabled to view it. 

สังกัด ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอพยุหะคีรี

          สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดนครสวรรค์

          สำนักปลัดกระทรวงศึกษาธิการ

          กระทรวงศึกษาธิการ            

1.ประวัติความเป็นมา

ในปี พ.ศ. 2541 สำนักงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ได้ประกาศจัดตั้ง               ศูนย์การเรียนชุมชนทั่วประเทศ โดยใช้คำว่า ศูนย์การเรียนรู้ชุมชนตำบลเขาทอง กศน.ตำบลเขาทองซึ่งในขณะนั้น คือศูนย์การเรียนชุมชนตำบลเขาทองได้จัดตั้งขึ้นเมื่อปี 2548 ซึ่งตอนนั้นยังไม่มีสถานที่เรียน ที่เป็นประจำเป็นของตนเอง ครูจึงพานักศึกษาไปเรียนตามใต้ต้นไม้ ต่อมาเจ้าอาวาสวัดเขาทองจึงได้แบ่งศาลาภายในวัดเขาทองให้เป็นที่จัดการเรียนการสอน แต่ต่อมาสถานที่คับแคบไม่สะดวกต่อการทำการเรียนการสอน จึงได้รับความอนุเคราะห์จากประชาชนในตำบล ลงความเห็นให้ใช้ อาคารกองทุนหมู่บ้านหมู่ที่ 5 ตำบลเขาทอง ต่อมาในปี 2553 กระทรวงศึกษาธิการได้ยกระดับให้ศูนย์การเรียนรู้ชุมชนตำบลทุกแห่งขึ้นเป็น กศน.ตำบล เพื่อให้บรรลุวิสัยทัศน์ที่กำหนดไว้ว่า “คนไทยได้เรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างมีคุณภาพ” โดยใช้ชื่อว่า กศน.ตำบลเขาทอง โดยมีหัวหน้า กศน.ตำบล รับผิดชอบจัดกิจกรรมการศึกษานอกโรงเรียนในตำบล ปัจจุบัน อาคารกองทุนหมู่บ้านหมู่ที่ 5 ตำบลเขาทอง  อำเภอพยุหะคีรี จังหวัดนครสวรรค์   มี นางรสสุคนธ์ ขันกสิกร เป็นผู้รับผิดชอบ

กศน.ตำบลเขาทอง มีบทบาทหน้าที่ในการจัดการศึกษานอกโรงเรียนสายสามัญ ในหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ.2551 จัดการเรียนการสอนผู้ไม่รู้หนังสือ เพื่อให้อ่านออกเขียนได้ การศึกษาในระดับประถมศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น และระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย การศึกษาต่อเนื่อง การศึกษาเพื่อการมีงานทำการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต การศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน และการศึกษาตามอัธยาศัย โดยจัดให้มีบ้านหนังสืออัจฉริยะในชุมชน การจัดตั้ง กศน.ตำบล มีวัตถุประสงค์เพื่อจัดการเรียนรู้ที่หลากหลายตามความต้องการของผู้เรียน เป็นแหล่งเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างทั่วถึงและเท่าเทียมกันสำหรับผู้สนใจและประชาชนในชุมชน

2.ทำเนียบผู้บริหาร

ลำดับที่

ชื่อ - สกุล

ตำแหน่ง

ระยะเวลาที่ดำรงตำแหน่ง

    1

นายชัยกิจ อนันตนิรัติศัย

ผู้อำนวยการ

ศูนย์บริการการศึกษานอกโรงเรียนอำเภอพยุหะคีรี

ตั้งแต่ปี พ.ศ.2537 - 2548

    2

นายสุวิทย์ จิรังกรณ์

ผู้อำนวยการ

ศูนย์บริการการศึกษานอกโรงเรียนอำเภอพยุหะคีรี

ตั้งแต่ปี พ.ศ.2548 – 2549

    3

นายภูวพัศ อังศธรรมรัตน์

ผู้อำนวยการ

ศูนย์บริการการศึกษานอกโรงเรียนอำเภอพยุหะคีรี

ตั้งแต่ปี พ.ศ.2549 - 2551

    4

นางอนุรัตน์ สงขำ

ผู้อำนวยการ

ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอพยุหะคีรี  

ตั้งแต่ปี พ.ศ.2551–2557

    5

นายภูวพัศ อังศธรรมรัตน์

ผู้อำนวยการ

ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอพยุหะคีรี  

ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2557 - 2558

    4

นางอนุรัตน์ สงขำ

ผู้อำนวยการ

ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอพยุหะคีรี  

ตั้งแต่ปี พ.ศ.2558–ปัจจุบัน

3.ลักษณะภูมิประเทศ
                              มีลักษณะภูมิประเทศทิศตะวันตกมีภูเขากั้นขวาก ทิศตะวันออกเป็นที่ราบลุ่ม มีหนองน้ำขนาดเล็กจำนวนหลายแห่ง ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพ ทำไร่ ทำนา

4 ขนาดพื้นที่ ที่ตั้งอาณาเขตติดต่อ

ตำบลเขาทองตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือของตัวอำเภอพยุหะคีรี และอยู่ทางทิศใต้ของตัวจังหวัดนครสวรรค์   การคมนาคมติดต่อกับทางอำเภอและจังหวัดได้สะดวกมากทั้งทางรถยนต์และรถไฟ มีระยะห่างจากอำเภอและจังหวัด ประมาณ 20 กิโลเมตร เท่ากัน ตำบลเขาทอง มีเนื้อที่ประมาณ 84.23 ตร.กม. หรือประมาณ 52,643.75 ไร่ พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นพื้นที่ราบสูงเหมาะแก่การทำนา ทำไร่และเลี้ยงสัตว์ มีภูเขา ได้แก่ เขากลางนา สระแก้ว เขาวิหาร เขาวิวาท

          อาณาเขตติดต่อ
ทิศเหนือ ติดต่อกับ ตำบลหนองปลิง อำเภอเมืองฯ จังหวัดนครสวรรค์
ทิศใต้ ติดต่อกับ ตำบลสระทะเล อำเภอพยุหะคีรี จังหวัดนครสวรรค์
ทิศตะวันออก ติดต่อกับ ตำบลเขากะลา อำเภอพยุหะคีรี จังหวัดนครสวรรค์
ทิศตะวันตก ติดต่อกับ ตำบลยางตาล อำเภอพยุหะคีรี จังหวัดนครสวรรค์

5. สภาพทางสังคม

1.5.1 โรงเรียนของรัฐ จำนวน 4 แห่ง ได้แก่

     1) โรงเรียนเขาทอง : ตั้งอยู่หมู่ที่ 5 บ้านเขาทอง ตำบลเขาทอง อำเภอพยุหะคีรี  จังหวัดนครสวรรค์

     2) โรงเรียนเขาทองพิทยาคม : ตั้งอยู่หมู่ที่ 5 บ้านเขาทอง ตำบลเขาทอง อำเภอพยุหะคีรี  จังหวัดนครสวรรค์

1.5.2 วัด จำนวน 5 แห่ง คือ

     1) วัดเขาทอง : ตั้งอยู่หมู่ที่ 5 บ้านเขาทอง ตำบลเขาทอง อำเภอพยุหะคีรี จังหวัดนครสวรรค์

     2) วัดเขาทองพุทธาราม : ตั้งอยู่หมู่ที่ 10 บ้านเขาทอง ตำบลเขาทอง อำเภอพยุหะคีรี  จังหวัดนครสวรรค์

1.5.3 องค์การบริหารส่วนตำบล 1 แห่ง คือ องค์การบริหารส่วนตำบลเขาทอง ตั้งอยู่    หมู่ที่ 3 ตำบลเขาทอง อำเภอพยุหะคีรี จังหวัดนครสวรรค์ 60130

1.5.4 กศน.ตำบล จำนวน 1 แห่ง คือ กศน.ตำบลเขาทอง (อาคารองค์การบริหารส่วนตำบลเขาทอง หลังเดิม) ตั้งอยู่ หมู่ 3 ตำบลเขาทอง อำเภอพยุหะคีรี จังหวัดนครสวรรค์ 60130

1.5.5 สถานพยาบาล จำนวน 1 แห่ง คือ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเขาทอง

6 .การคมนาคมขนส่ง

- การคมนาคมในเขตตำบลเขาทอง และพื้นที่ใกล้เคียงใช้การคมนาคมทางบกเป็นหลัก

7 การโทรคมนาคม

- มีโทรศัพท์เข้าถึงหมู่บ้าน มีหอกระจายข่าว/เสียงตามสายทุกหมู่บ้าน

8 การไฟฟ้า

  1) มีไฟฟ้าเข้าถึงทั้ง 16 หมู่บ้าน ประชากรทุกครัวเรือนมีไฟฟ้าใช้ทุกหลัง

9. สภาพทางสังคม-ประชากร

9.1 การปกครอง

ตำบลเขาทอง ตั้งอยู่ในเขตการปกครองของอำเภอพยุหะคีรี ประกอบด้วย องค์การบริหารส่วนตำบลเขาทอง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบลเขาทอง สถานีตำรวจ มหาวิทยาลัยมหิดลวิทยาเขตนครสวรรค์ หมู่บ้าน12 หมู่บ้าน ได้แก่

9.2 ประชากร ตำบลเขาทอง มีจำนวนครัวเรือน 12 ครัวเรือน มีประชากรทั้งสิ้น ดังนี้

 

หมู่ที่

 

หมู่บ้าน

จำนวนประชากร

รวม

(คน)

จำนวนครัวเรือน

ชาย

(คน)

หญิง

(คน)

1

บ้านใหม่น้อย

385

410

795

275

2

บ้านเหนือ

182

187

369

100

3

บ้านเหนือกลาง

262

320

582

298

4

บ้านใหม่หนองแจง

211

232

443

143

5

บ้านเขาทอง

99

110

209

76

6

บ้านสระบัวน้อย

271

271

542

258

7

บ้านขุมดินแดง

252

269

521

194

8

บ้านสระบัว

158

195

353

146

9

บ้านนอก

160

155

315

125

10

บ้านป่าบัวทอง

225

234

159

169

11

บ้านฉอกสวรรค์

333

327

660

186

12

บ้านบัวทองใหม่

118

117

235

69

รวม

 

 

 

 

 

10. สภาพทางเศรษฐกิจ

อาชีพหลัก ทำไร่ ทำนา

อาชีพเสริม เลี้ยงสัตว์ ค้าขาย

11.แหล่งเรียนรู้และภูมิปัญญา

         แหล่งเรียนรู้

ชื่อ กศน.ตำบล

ที่ตั้ง

ผู้รับผิดชอบ

กศน.ตำบลเขาทอง

ม.5 ตำบลเขาทอง     อำเภอพยุหะคีรี     จังหวัดนครสวรรค์

นายพีรวิชญ์ วลีวิชัย


12.ภูมิปัญญาท้องถิ่น

ชื่อ ภูมิปัญญาท้องถิ่น

ความสามารถและประสบการณ์

ที่อยู่

นางสาวกฤษณา อนุยูร

หัตถกรรม – เครื่องปั้นดินเผา

527 ม. 4 ต.เขาทอง      

อ.พยุหะคีรี จ.นครสวรรค์

นายสมนึก ประธานทิพย์

นมแพะ /เครื่องสำอาง

241 ม.1 ต.เขาทอง      

อ.พยุหะคีรี จ.นครสวรรค์

นายผัน โกช่วย

การจักสาน

71 ม.4 ต.เขาทอง      

อ.พยุหะคีรี จ.นครสวรรค์

นางสมคิด พูลสวัสดิ์

การทำดอกไม้จากผ้าใยบัว

82/1 ม.15 ต.เขาทอง      

อ.พยุหะคีรี จ.นครสวรรค์


13.แหล่งเรียนรู้อื่น

ชื่อ แหล่งเรียนรู้อื่น

ประเภทแหล่งเรียนรู้

ที่ตั้ง

วัดเขาทอง

แหล่งเรียนรู้ประเภท วัด

หมู่ที่ 5 ตำบลเขาทอง

วัดโตเขาทอง

แหล่งเรียนรู้ประเภท วัด

หมู่ที่ 10 ตำบลเขาทอง


14.ข้อมูลปราชญ์ชาวบ้านและภูมิปัญญาท้องถิ่น
ตำบลเขาทอง

ปราชญ์ชาวบ้าน

         ปราชญ์ชาวบ้านคนส่วนใหญ่มักจะคิดถึงองค์ความรู้หรือภูมิปัญญาที่มาจากชาวบ้าน เป็นความรู้ ที่ตก ทอดมาจากบรรพบุรุษเกิดจากกระบวนการเรียนรู้ปรับตัว ผ่านประสบการณ์ที่สั่งสมพัฒนาและสืบทอดกัน ต่อๆมา เพื่อใช้แก้ปัญหาที่เกิดขึ้นในการดำรงชีวิต ได้อย่างมีความสุขหลักการแนวคิดและวิถีชีวิตของปราชญ์ เป็นสิ่งที่คนในยุคสมัยปัจจุบันนี้ ควรได้เรียนรู้และนำไปเป็นแบบอย่างในการดำรงชีวิตการน าภูมิปัญญาจาก ปราชญ์ชาวบ้านมาประยุกต์ใช้ในการท างานซึ่งสามารถนำใช้ปฏิบัติใช้ในระดับบุคคล และชุมชนท้องถิ่นได้ เป็นอย่างดี บรรพบุรุษของชาวไทยเป็นชนชาติที่มีศิลปวัฒนธรรมจารีตประเพณี ที่เก่าแก่สืบทอดกันมานานนับ ร้อยนับพันปีโดยบรรพบุรุษของชาวไทยได้นำความรู้ความสามารถด้านต่างๆ ถ่ายทอดให้คนรุ่นหนึ่งไป สู่คน อีกรุ่นหนึ่งโดยมีการปรับเปลี่ยนไปตามยุคสมัย เพื่อน าความรู้นั้นๆมาใช้ปรับปรุงเปลี่ยนแปลงในการดำชีวิต อยู่ในสังคมชุมชนท้องถิ่น ให้มีคุณภาพมากยิ่งขึ้นโดยความรู้ความสามารถเหล่านี้จะเรียกว่า                   “ภูมิปัญญาท้องถิ่น” ปราชญ์ชาวบ้าน หมายถึงบุคคลในสังคมชุมชนท้องถิ่นซึ่งเป็นเจ้าของภูมิปัญญาและนำภูมิปัญญามา ใช้ประโยชน์ในการดำรงชีวิตจนประสบผลสำเร็จ จากการสั่งสมประสบการณ์และสามารถถ่ายทอดองค์ความรู้ เชื่อมโยงคุณค่าภูมิปัญญาของอดีตกับปัจจุบันได้อย่างเหมาะสมสอดคล้องกับการดำรงชีพในปัจจุบัน ปราชญ์ชาวบ้าน หมายถึง บุคคลผู้เป็นเจ้าของภูมิปัญญาชาวบ้าน และนำภูมิปัญญามาใช้ประโยชน์ ในการด รงชีวิตจนประสบผลสำเร็จสามารถถ่ายทอดเชื่อมโยงคุณค่าของอดีตกับปัจจุบันได้อย่างเหมาะสม ความเหมือนกันระหว่างผู้ทรงภูมิปัญญาไทยกับปราชญ์ชาวบ้านคือ บทบาทและภารกิจในการนำภูมิ ปัญญาไปใช้แก้ปัญหา และการถ่ายทอดเพื่อให้เกิดความเชื่อมโยงจากอดีตถึงปัจจุบัน ส่วนความแตกต่างกันนั้น ขึ้นอยู่กับระดับภูมิปัญญาที่จะนำไปแก้ปัญหาและถ่ายทอดกล่าวคือ ผู้ทรงภูมิปัญญาไทยย่อมมีความสามารถ หรือภารกิจในการน าภูมิปัญญาระดับชาติไปแก้ปัญหา หรือถ่ายทอด หรือผลิตผลงานใหม่ๆ ที่มีคุณค่าต่อ ประเทศชาติโดยส่วนรวม ส่วนปราชญ์ชาวบ้านมีความสามารถหรือภารกิจในการน าภูมิปัญญาชาวบ้าน หรือ ภูมิปัญญาท้องถิ่นไปแก้ปัญหาหรือถ่ายทอดในท้องถิ่น อย่างไรก็ตาม ภูมิปัญญาไทย และ ภูมิปัญญาท้องถิ่น ย่อมมีความสัมพันธ์และเชื่อมโยงกัน เพราะภูมิ ปัญญาท้องถิ่นนั้นถือว่าเป็นฐานหลักแห่งภูมิปัญญาไทยเปรียบเหมือนฐานเจดีย์

15.ปราชญ์ชาวบ้าน ด้านต่างๆ ในตำเขาทอง

ด้านศิลปกรรม

ที่

ชื่อ-สกุล

บ้านเลขที่

หมู่ที่

ประเภทศิลปกรรมที่ชำนาญ

หมายเลขโทรศัพท์

1 นางสุวภา เหมือนเตย 75 หมู่ 1การแสดงพื้นบ้าน (รำโทน ,รำชี้บท,รำเคียวเกี่ยวข้าว, การละเล่นช้าเจ้าโลม, การละเล่นนางสุ่ม)

2 นางสมควร สุ่มประดิษฐ์ 73 หมู่ 1

การแสดงพื้นบ้าน (รำโทน ,รำชีบท,รำเคียวเกี่ยวข้าว, การละเล่นช้าเจ้าโลม,)

3 นายลมูล คงหอม 5 หมู่ 1

การแสดงพื้นบ้าน (รำโทน,รำชี้บท,รำเคียวเกี่ยว ข้าว,การละเล่นช้าเจ้าโลม ,การละเล่นนางควาย)

4 นางวันเพ็ญ วัดตูม 9  หมู่ 2

การแสดงพื้นบ้าน (รำโทน ,รำชี้บท,รำเคียวเกี่ยวข้าว, การละเล่นช้าเจ้าโลม,)

5 นางพเยาว์ พันธ์เขตต์การณ์ 108 หมู่ 2

การแสดงพื้นบ้าน (รำโทน ,รำชี้บท,รำเคียวเกี่ยวข้าว, การละเล่นช้าเจ้าโลม, การละเล่นนางสุ่ม)

6 นางประคอง พรมทอง 54 หมู่ 3

การแสดงพื้นบ้าน (รำโทน ,รำชี้บท,รำเคียวเกี่ยวข้าว, การละเล่นช้าเจ้าโลม, การละเล่นนางสุ่ม)

7 นางลออ แขกเณร 40 หมู่ 6

การแสดงพื้นบ้าน (รำโทน ,รำชี้บท,รำเคียวเกี่ยวข้าว, การละเล่นช้าเจ้าโลม,)

1) ด้านศิลปกรรม

ที่ ชื่อ – สกลุ บ้านเลขที่ หมู่ที่ ประเภทศิลปกรรมที่ ชำนาญ

หมายเลข โทรศัพท์

8 นายมูล   ธูปบูชา 33/2หมู่7

การแสดงพื้นบ้าน (รำโทน ,รำชี้บท,รำเคียวเกี่ยวข้าว, การละเล่นช้าเจ้าโลม, การละเล่นนางควาย)

9 นางสายันต์   หมีทอง 43 หมู่  8

การแสดงพื้นบ้าน (รำโทน ,รำชี้บท,รำเคียวเกี่ยวข้าว, การละเล่นช้าเจ้าโลม, การละเล่นนางสุ่ม)

10 นางทุม คุณมงคล 14/1 หมู่ 9

การแสดงพื้นบ้าน (รำโทน ,รำชี้บท,รำเคียวเกี่ยวข้าว)

11 นางจิราพร แตงทรัพย์ 241/4 หมู่ 10

การแสดงพื้นบ้าน (รำโทน ,รำชี้บท,รำเคียวเกี่ยวข้าว, การละเล่นช้าเจ้าโลม)

12 นางประเทือง โตอิ่ม 312 หมู่ 12

การแสดงพื้นบ้าน (รำโทน ,รำชี้บท,รำเคียวเกี่ยวข้าว, การละเล่นช้าเจ้าโลม, การละเล่นนางสุ่ม)

13 นางประทุม   แถมสุข 303 หมู่ 12

การแสดงพื้นบ้าน (รำโทน ,รำชี้บท,รำเคียวเกี่ยวข้าว, การละเล่นช้าเจ้าโลม, การละเล่นนางสุ่ม)

14 นางแตง มั่นศักดิ์ 301/1 หมู่  12

การแสดงพื้นบ้าน (รำโทน ,รำชี้บท,รำเคียวเกี่ยวข้าว, การละเล่นช้าเจ้าโลม)

2) ด้านประเพณี /พิธีกรรม/ความเชื่อ

ที่ ชื่อ – สกลุ บ้านเลขที่ หมู่ที่ ประเพณี /พิธีกรรม/ ความเชื่อ หมายเลข โทรศัพท์

1 นางโต๋ย กลิ่นด้วง 10/1 หมู่ 7 งานปี,คนทรงพ่อศรีเมือง,

2 นางสาวสมจิตร ไล้ทอดคา 6 หมู่9 งานปี,คนทรงพ่อโลง พ่อไฟ  

3 นายจวน อ่องทิพย์ 267 หมู่ 10 หมอท าขวัญ

4 นายติ่น โตเกิด 124 หมู่ 4 หมอพ่น  

5 นางทวน มากต่าย 255  หมู่ 10 หมอพ่น

6 นายประเทือง   รังผึ้ง 152/2 หมู่  4 หมอดู

7 นางจีน   ยอดหงษ์ 129 หมู่  4 แกว่งตะไกร    

8 นางบ่วง   เหมือนแจ่ม 239/1 หมู่ 10 แกว่งตะไกร  

9 นางชวน อินทร์ศักดิ์ 44/1 หมู่ 9 แกว่งตะไกร  

3) ด้านการแพทย์แผนไทย

ที่ ชื่อ – สกลุ บ้านเลขที่ หมู่ที่ การแพทย์แผนไทย หมายเลข โทรศัพท์

1 นางลมูล   โมราราย 104 หมู่ 4 นวดจับเส้น

2 นางประทุม   รังผึ้ง 125  หมู่ 12 นวดเพื่อสุขภาพ  

3 นายธรรมนูญ มั่นศักดิ์ 101 หมู่ 12 นวดเพื่อสุขภาพ

4) ด้านผลิตภัณฑ์งานศิลปหัตถกรรม

ที่ ชื่อ – สกลุ บ้านเลขที่ หมู่ที่ ศิลปหัตถกรรม หมายเลข โทรศัพท์

1 นายเทียม จันทร์ปลั่ง 36 หมู่ 1 จักสาน

2 นางทองม้วน แสวงมิ้ม   106/1 หมู่ 9 จักสาน  

3 นางเสงี่ยม เงินเมือง 106/3 หมู่ 9 จักสาน

4 นางเชื่อม ยศสมบัติ 109/3  หมู่ 9 จักสาน

5 นายเวียน หมีทอง 236  หมู่ 4 จักสาน  

5) ด้านเกษตรกรรมพื้นบ้าน

ที่ ชื่อ – สกลุ บ้านเลขที่ หมู่ที่ ศิลปหัตถกรรม หมายเลข โทรศัพท์

1 นางมาย คงหอม 5 หมู่ 1 พืชสวนครัว

2 นายวุฒิ ยืนยงค์ 75 หมู่ 7 เศรษฐกิจพอเพียง  

 

16. ปัญหาและความต้องการทางการศึกษาของประชาชนที่จำแนกตามลักษณะของกลุ่มเป้าหมาย

16.1 ขนาด กศน.ตำบล จำนวนผู้เรียน/นักศึกษา ระดับการศึกษาที่ให้บริการ

กศน.ตำบลเขาทอง ตั้งอยู่ หมู่ 5 ตำบลเขาทอง อำเภอพยุหะคีรี จังหวัดนครสวรรค์ ตั้งอยู่ในชุมชน เป็นสถานที่จัดการเรียนการสอน เป็นเอกเทศ จัดการศึกษาระดับประถมศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น และ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย จานวน 60 คน

ระดับ

นักศึกษา

ชาย

หญิง

รวม

ระดับประถมศึกษา

-

-

-

ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น

16

15

31

ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

11

22

32

รวม

27

37

63

การจัดการศึกษา

กลุ่มเป้าหมาย

ปัญหาและความต้องการทางการศึกษา

การศึกษาขั้นพื้นฐาน

การศึกษาตามอัธยาศัย

กลุ่มประชากรวัยแรงงาน             (อายุ 15-59 ปี )

- ประชากรในพื้นที่ส่วนใหญ่มีอาชีพรับจ้าง มีภาระต้องทำงานหาเลี้ยงครอบครัว

ส่งผลให้ขาดโอกาสในการเข้าถึงการศึกษา แรงงานมีการย้ายถิ่นฐานบ่อย

การศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน เศรษฐกิจพอเพียง

กลุ่มผู้สูงอายุ (อายุ 60 ปีขึ้นไป)

- ผู้สูงอายุในชุมชนส่วนใหญ่มีอาชีพการเกษตร รับจ้างทั่วไป และไม่มีงานทำมีภาระ ต้องเลี้ยงดูบุตรหลาน ไม่มีอาชีพที่มั่นคง และมีคุณภาพชีวิตไม่ดีเท่าที่ควร

การศึกษาขั้นพื้นฐาน, การศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต

กลุ่มผู้พลาดโอกาส               (เด็กและเยาวชน)

- ชุมชนมีสภาพวิถีการดำเนินชีวิตที่หลากหลาย มีความเสี่ยงต่อปัญหาต่างๆ เช่น ปัญหายาเสพติดตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร ไม่จบการศึกษาภาคบังคับ เป็นต้น

 

16.2 คณะกรรมการ กศน.ตำบลเขาทอง

ประธานกรรมการ

1. นายคงศักดิ์ ฉัตรชัยรัตนเช      นายกองค์บริหารส่วนตำบลเขาทอง

16.3 กรรมการหมู่บ้านหรือชุมชน

2. นายแหวน จันทร์ฤทธิ์          กำนันตำบลเขาทอง

3. นายอนันวัฒน์ รอดวินิจ        รองนายกองค์บริหารส่วนตำบลเขาทอง

4. นายนาวี บุญนก                  ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 2

5. นายประทีป หัตถบูรณ์         สมาชิก อบต.ตำบลเขาทอง หมู่ที่ 4

6. นางอนุสรณ์ จาตุรเกียรติ      หัวหน้า รพ.ส่งเสริมสุขภาพตำบลเขาทอง

7. นางอนุรัตน์ สงขำ               ผู้อำนวยการ กศน.อำเภอพยุหะคีรี

8. นางบุญยืน โกช่วย              อาสาสมัคร กศน.

 

16.4 คณะกรรมการที่เป็นผู้แทนองค์กรนักศึกษา

9. นายคฑาวุธ รังผึ้ง                องค์กรนักศึกษา กศน.ตำบล

10. นายจตุพล ทองเขียว          องค์กรนักศึกษา กศน.ตำบล

 

16.5 กรรมการและเลขานุการ

11. นายพีรวิชญ์ วลีวิชัย ครู กศน.ตำบลเขาทอง

หน้าที่ 2 จาก 2