หมู่ 6 ต.วังบ่อ อ.หนองบัว จ.นครสวรรค์ 60110 056-251768 081-9730387 karasoun@hotmail.co.th จันทร์-ศุกร์ เวลา 08.3.-16.30 น.
ครู กศน.ตำบลวังบ่อ

20190416 210625

นางพรทิพย์  คงเถื่อน

ตำแหน่ง ครู กศน.ตำบล

 เบอร์โทร 081-9730387

 

นาย

ตำแหน่ง ครูอาสา

 เบอร์โทร 

นาย

ตำแหน่ง ครูอาสา

 เบอร์โทร 

แพลตฟอร์ม กศน.นครสวรรค์

จำนวนผู้เข้าใช้งานเว็บไซต์
008601
วันนี้
เมื่อวานนี้
สัปดาห์นี้
สัปดาห์ที่แล้ว
เดือนนี้
เดือนที่แล้ว
ผู้เข้าชมทั้งหมด
1
2
34
8502
99
339
8601

Your IP: 192.168.1.1
2024-09-12 01:45

ข้อมูลทั่วไป ตำบลวังบ่อ

สภาพทั่วไปตำบลวังบ่อ

1.ด้านกายภาพ

         1.1 ที่ตั้งของหมู่บ้านหรือตำบล

          ตำบลวังบ่อ เป็นหนึ่งในจำนวน  9  ตำบลในเขตอำเภอหนองบัวจังหวัดนครสวรรค์ ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ของที่ว่าการอำเภอหนองบัว ห่างจากตัวอำเภอหนองบัวประมาณ  16  กิโลเมตร และอยู่ห่างจากตัวจังหวัดนครสวรรค์ประมาณ  86  กิโลเมตร (ทางรถยนต์) โดยมีอาณาเขตติดต่อกับตำบลข้างเคียง ดังนี้

          ทิศเหนือ        ติดต่อกับ  ตำบลหนองบัว  อำเภอหนองบัว จังหวัดนครสวรรค์

          ทิศใต้           ติดต่อกับ  ตำบลนาขอม ตำบลวังน้ำลัด  อำเภอไพศาลี  จังหวัดนครสวรรค์

          ทิศตะวันออก  ติดต่อกับ  ตำบลศรีมงคล อำเภอบึงสามพัน จังหวัดเพชรบูรณ์

          ทิศตะวันตก    ติดต่อกับ  ตำบลธารทหาร ตำบลหนองบัว อำเภอหนองบัว จังหวัดนครสวรรค์

                        มีพื้นที่ทั้งหมดประมาณ  94,970  ไร่  หรือประมาณ  151.95  ตารางกิโลเมตร  แยกเป็นพื้นที่  สปก.  24,682  ไร่  และพื้นที่การเกษตรประมาณ  89,166  ไร่

                                 แผนที่ตำบลวังบ่อ    อำเภอหนองบัว  จังหวัดนครสวรรค์

แผนที่

          1.2 ลักษณะภูมิประเทศ

          ตำบลวังบ่อมีภูมิประเทศเป็นที่ราบ ลาดเทจากทิศตะวันออกมาทางทิศตะวันตกและทิศใต้  มีภูเขาลูกเล็ก ๆ สลับกัน 3 ลูก สภาพดินในพื้นที่โดยทั่วไปเป็นดินลูกรังและดินร่วนปนทราย

          1.3 ลักษณะภูมิอากาศ

ตำบลวังบ่อ มีอากาศแห้งแล้ง ประกอบด้วย 3 ฤดูกาล ดังนี้

              ฤดูหนาว      ในช่วงเดือนธันวาคม-กุมภาพันธ์ อุณหภูมิเฉลี่ย 20 องศาเซลเซียส

              ฤดูร้อน        อากาศร้อนจัดอุณหภูมิเฉลี่ย 40 องศาเซลเซียส

              ฤดูฝน          ฝนเริ่มตกในช่วงเดือนเมษายน – พฤศจิกายน มักเกิดภาวะฝนทิ้งช่วงในเดือนกรกฎาคม-สิงหาคม ปริมาณน้ำฝนตลอดปี  725 - 850 มิลลิเมตร

          1.4 ลักษณะของดิน

          ทรัพยากรดิน โดยทั่วไปเป็นดินเหนียวปนทราย ฤดูฝนมีน้ำแช่ขังนาน 3-5 เดือน โดยพบว่ามีศักยภาพเหมาะสมในการทำนา เนื่องจากสภาพพื้นที่ลาดเอียงหลังการเก็บเกี่ยวข้าวในฤดูแล้งสามารถปลูกพืชไร่ หรือพืชผักที่มีอายุสั้นได้

2.ด้านการเมืองการปกครอง

           2.1 เขตการปกครอง

ตำบลวังบ่อประกอบด้วยจำนวนหมู่บ้าน  16หมู่บ้าน ดังนี้

หมู่ที่ 1  บ้านเขานางต่วม           หมู่ที่ 2  บ้านวังใหญ่                 หมู่ที่ 3  ห้วยธารทหาร

หมู่ที่ 4  บ้านวังข่อย                 หมู่ที่ 5  บ้านทับลุ่ม                 หมู่ที่ 6  บ้านโคกสะอาด

หมู่ที่ 7  บ้านอุดมพัฒนา            หมู่ที่ 8  บ้านเวฬุวัน                 หมู่ที่ 9  บ้านวังบ่อ

หมู่ที่ 10  บ้านหนองถั่วแปบ       หมู่ที่ 11  บ้านหนองรกฟ้า          หมู่ที่ 12  บ้านกุดตามั่น

หมู่ที่ 13  บ้านพนาสวรรค์          หมู่ที่ 14  บ้านวังไผ่พัฒนา          หมู่ที่ 15  บ้านเขานางต่วมใต้

หมู่ที่ 16  บ้านเขานางต่วมเหนือ

 ข้อมูลด้านประชากร

          จำนวนประชากรจำแนกตามเพศและเขตพื้นที่ตำบลวังบ่อ

หมู่ที่

ชื่อหมู่บ้าน

จำนวนครัวเรือน

จำนวนประชากร(คน)

กำนัน/ผู้ใหญ่บ้าน

ชาย

หญิง

รวม

1

บ้านเขานางต่วม

388

439

413

852

นายสมคิด  ปทุมรัตน์นุกูล

2

บ้านวังใหญ่

276

355

368

723

นายสมัคร  นาเนตร

3

บ้านห้วยธารทหาร

145

224

226

450

นายแอ๊ด  แป้นไพศาล

4

บ้านวังข่อย

148

181

175

356

นายชิด  เกขุนทด

5

บ้านทับลุ่ม

295

365

348

713

นายสวัสดิ์  เสกรัมย์

6

บ้านโคกสะอาด

586

743

817

1,560

นายณรงค์  ฤทธิ์บำรุง (กำนัน)

7

บ้านอุดมพัฒนา

530

562

609

1,171

นางสาวจำรัส  เรืองฤทธิ์

8

บ้านเวฬุวัน

294

350

342

692

นายภูษิต  จันทร์ศรี

9

บ้านวังบ่อ

118

236

243

479

นางสำราญ  นอพลกรัง

10

บ้านหนองถั่วแปบ

129

248

253

501

นายเสือ  ชมพูน

11

บ้านหนองรกฟ้า

217

309

281

590

นายประทวน  อุดมพร

12

บ้านกุดตามั่น

176

278

256

534

นายเจริญ  ก้อนค้างพลู

13

บ้านพนาสวรรค์

102

159

149

308

นายกฤษณะ รุ่งสันเที๊ยะ

14

บ้านวังไผ่พัฒนา

77

130

128

258

นายวานุ  ชมพูล

15

บ้านเขานางต่วมใต้

237

424

444

868

นายแก้ว  ทองดี

16

บ้านเขานางต่วมเหนือ

196

362

395

757

นายธนศักดิ์  นิ่มอนงค์

 

รวม

3,914

5,365

5,447

10,812

 

ตำบลวังบ่อ มีครัวเรือนอาศัยอยู่  จำนวน 3,914   ครัวเรือน  อยู่ในเขตพื้นที่การปกครองเทศบาลตำบลทั้งหมดมีประชากรทั้งสิ้น – คน แยกเป็นประชากรชาย  จำนวน - คนคิดเป็นร้อยละ - และประชากรหญิง  จำนวน - คน  คิดเป็นร้อยละ  ความหนาแน่นเฉลี่ย  คน/ตารางกิโลเมตร

          จำนวนประชากรจำแนกตามช่วงอายุ

ช่วงอายุ (ปี)

จำนวน (คน)

ร้อยละของประชากรทั้งหมด (คน)

0  -  5

673

6.22

6  -  14

1,218

11.22

15  -  39

3,695

34.04

40  -  59

3,441

31.70

60  -  69

1,043

9.61

70  -  79

494

4.55

80  -  89

236

2.17

90  ปีขึ้นไป

53

0.49

รวม

10,853

100

          จากตารางจำนวนประชากรจำแนกตามช่วงอายุ  พบว่า  ประชากรส่วนใหญ่ มีช่วงอายุระหว่าง 15-3๙ ปี  จำนวน 3,695 คิดเป็นร้อยละ 34.04

          จำนวนผู้พิการจำแนกตามประเภทความพิการ

ประเภทผู้พิการ

จำนวนผู้พิการ (คน)

คิดเป็นร้อยละ

ชาย

หญิง

รวม

-ทางสมอง

14

18

32

12.03

-ทางสายตา

24

11

35

13.16

-ทางร่ายกาย

97

88

185

69.55

-พิการซ้ำซ้อน

8

6

14

5.26

รวม

143

123

266

100

          กลุ่มผู้พิการ  เป็นกลุ่มผู้ด้อยโอกาสในการที่จะเข้ารับบริการทางการศึกษาหรือเข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ด้อยกว่าคนปกติทั่วไป  อันเนื่องมาจากข้อจำกัดทางด้านร่างกาย  จิตใจ  สติปัญญาหรือความสามารถในการเรียนรู้  จากตารางข้อมูลจำนวนคนพิการในพื้นที่ตำบลวังบ่อ จำแนกประเภทความพิการ  ส่วนใหญ่มีความ          พิการทางร่างกาย

 ข้อมูลด้านสังคม

การศึกษา  สถานศึกษาและหน่วยงานที่ส่งเสริมความรู้ให้กับประชาชนของตำบลวังบ่อ มีดังนี้

                     - โรงเรียนประถมศึกษา                        จำนวน 8 แห่ง

                     - โรงเรียนมัธยมศึกษา                          จำนวน 1 แห่ง

                     - ศูนย์ กศน. ตำบล                             จำนวน 1 แห่ง

                     - ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก                            จำนวน 4 แห่ง

สถาบันและองค์กรทางศาสนา ประชากรภายในตำบลวังบ่อ 100% นับถือศาสนาพุทธ ดังนี้

          -  วัด                        11  แห่ง                   

-  สำนักสงฆ์                  2  แห่ง

สาธารณสุข  ในเขตตำบลวังบ่อมีสถานีอนามัยจำนวน 3  แห่ง เพื่อให้บริการกับประชาชนในตำบลและใกล้เคียง ดังนี้   

          1. สถานีอนามัยบ้านโคกสะอาด  (สถานีอนามัยดีเด่นประจำปี 2541)

                               2. สถานีอนามัยบ้านวังข่อย

                               3. สถานีอนามัยบ้านเขานางต่วม

ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน

ตำบลวังบ่อมีโครงการอยู่เวรยามรักษาความปลอดภัยประจำหมู่บ้าน โดยความร่วมมือจากสมาชิก อปพร. และตำรวจอาสา โดยการสนับสนุนงบประมาณจากองค์การบริหารส่วนตำบลวังบ่อวัตถุประสงค์เพื่อดูแลรักษาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน และสอดส่องดูแลให้ตำบลปลอดจากยาเสพติด นอกจากนี้ยังมีอาสาสมัครต่าง ๆ ดังนี้

                     -  ป้อมตำรวจ                                   จำนวน            1 แห่ง  (ตั้งอยู่หน้าที่ทำการ อบต.)

                    -  อาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน         จำนวน           238  คน

                     -  อาสาสมัครกู้ชีพประจำตำบล                จำนวน            39  คน

                     -  ตำรวจอาสา                                       จำนวน            84 คน

                     -  กองหนุนเพื่อความมั่นคงของชาติ          จำนวน            120  คน

                     -  ชุดปฏิบัติการรักษาความสงบเรียบร้อย   จำนวน            350  คน

                     -  ลูกเสือชาวบ้าน  15 รุ่น                         จำนวน            207 คน

                     -  อาสาสมัครสาธารณสุข                          จำนวน            126  คน

                     -  กลุ่มสตรี                                              จำนวน            210 คน

 ข้อมูลด้านเศรษฐกิจ

                    1.4 สภาพทางเศรษฐกิจ

              - การประกอบอาชีพ  ประชากรส่วนใหญ่ของตำบลวังบ่อประกอบอาชีพเกษตรกรรม โดยแยกเป็น

          1. อาชีพทำนา   ร้อยละ 76.65 ของประชากร มีอาชีพทำนา พื้นที่ประมาณ 74,949 ไร่ พันธุ์ข้าวที่ปลูก คือ ข้าวขาวดอกมะลิ 105 คิดเป็น 70% ของพื้นที่ นอกจากนั้นเป็นข้าวพันธุ์พื้นเมือง เริ่มผลิตในเดือนพฤษภาคม-ธันวาคม มีการใช้ปุ๋ยวิทยาศาสตร์ในนาข้าว

          2. อาชีพทำไร่    ร้อยละ 3.33 ของประชากร มีอาชีพทำไร่ พื้นที่ปลูกประมาณ 16,176 ไร่ โดยส่วนใหญ่ทำเป็นอาชีพรอง พืชที่ปลูกส่วนใหญ่ คือ ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ และมันสำปะหลัง ส่วนใหญ่ทำตามที่ดอนตามไหล่เขา

           3. อาชีพทำสวน ร้อยละ 0.53 ของประชากรมีอาชีพทำสวนผลไม้ และดอกมะลิ พื้นที่ปลูกประมาณ 132  ไร่ ประกอบไปด้วย มะม่วง มะนาว น้อยหน่า มีการปลูกในรูปของสวน และปลูกตามบ้าน ส่วนใหญ่ถือเป็นอาชีพเสริม ที่บ้านหนองรกฟ้า หมู่ที่ 11 นั้น มีการปลูกต้นมะลิเป็นส่วนมาก เพื่อนำมาร้อยเป็นพวงมาลัย ซึ่งเป็นอาชีพเสริมอีกอาชีพหนึ่ง

          4. อาชีพเลี้ยงสัตว์ ร้อยละ 1.87 ของประชากร โดยส่วนใหญ่จะเลี้ยงวัว นอกจาก นั้นจะเป็น สุกร และไก่

          5. อาชีพรับจ้าง  ร้อยละ 10.68 ของประชากร เมื่อว่างเว้นจากการทำเกษตรกรรม คนหนุ่ม-สาวจะเคลื่อนย้ายแรงงานเป็นบางฤดูกาล เข้าไปหางานรับจ้างทำในกรุงเทพมหานคร หรือตามเมืองใหญ่

          6.  อาชีพค้าขาย ร้อยละ 1.81 ของประชากร มีอาชีพค้าขาย โดยส่วนมากจะประกอบกิจการเล็ก ๆ ภายในครัวเรือน

                   หน่วยธุรกิจในเขตองค์การบริหารส่วนตำบล

-  ร้านค้าที่ทำกิจการค้าส่ง                     2  แห่ง

-  ร้านค้าที่ทำกิจการค้าปลีกเป็นหลัก        68  แห่ง

-  ร้านรับซ่อมยานยนต์                         11  แห่ง

-  ร้านรับซ่อมเครื่องจักรกลการเกษตร         1  แห่ง

-  ร้านรับซ่อมเครื่องใช้ไฟฟ้า                    2  แห่ง

-  ปั๊มน้ำมันและก๊าซ                              3  แห่ง

-  โรงสี                                              3  แห่ง

-  โรงงาน                                          2  แห่ง (โรงงานอิฐบล๊อค , โรงงานเชื่อมเหล็ก)

              - การรวมกลุ่มอาชีพ/กลุ่มออมทรัพย์/กลุ่มสหกรณ์ร้านค้า/กลุ่มวิสาหกิจชุมชน

    - กลุ่มอาชีพที่ขึ้นทะเบียนกับสำนักงานพัฒนาชุมชน จำนวน 11 กลุ่ม คือ

                     1. กลุ่มทอผ้า               หมู่ที่ 1  จำนวนสมาชิก 16 คน    เงินทุน 22,000.- บาท2,000.-ุน ิก ี้ยงโค  หมู่ที่ ะกอบอาชีพเกษตรกรรม โดยแยกเป็น

อภายในตำบลไม่มีแหล่งน้ำฝน ซึ่งเป็นแหล่งน้ำขนาดใหญ่ในการเกษตร ไม่มีแหล

                     2. กลุ่มผลิตข้าวกล้อง     หมู่ที่ 1  จำนวนสมาชิก 20 คน    เงินทุน 66,000.- บาท

                     3. กลุ่มปลาร้า              หมู่ที่ 3  จำนวนสมาชิก 15 คน    เงินทุน 4,500.- บาท

                     4. กลุ่มเสื่อกก              หมู่ที่ 5  จำนวนสมาชิก 102 คน เงินทุน 22,500.- บาท

                     5. กลุ่มเลี้ยงกบ             หมู่ที่ 6  จำนวนสมาชิก 20 คน    เงินทุน 95,000.- บาท

                     6. กลุ่มเกษตรกรเลี้ยงโค  หมู่ที่ 13 จำนวนสมาชิก 10 คน   เงินทุน 2,400.- บาท

                     7. กลุ่มข้าวแตน            หมู่ที่ 15 จำนวนสมาชิก 62 คน   เงินทุน 51,040.- บาท

                     8. กลุ่มทอผ้า               หมู่ที่ 16 จำนวนสมาชิก 21คน    เงินทุน 14,400.- บาท

                     9. กลุ่มไม้กวาด            หมู่ที่ 16 จำนวนสมาชิก 9 คน     เงินทุน 1,100.- บาท

                     10. กลุ่มเย็บจักร          หมู่ที่ 16 จำนวนสมาชิก 30 คน   เงินทุน 12,000.- บาท

            - กลุ่มออมทรัพย์         จำนวน  14 กลุ่ม

            - กลุ่มสตรีอาสา          จำนวน  14 กลุ่ม 210 คน

            - สถาบันเกษตรกร ที่ขึ้นทะเบียนกับเกษตรอำเภอหนองบัว มีดังนี้

                     1. โรงสีข้าวชุมชนบ้านเวฬุวัน เลขที่ 98 ม.8 จำนวนสมาชิก 132 คน เงินทุน               106,800.- บาท

กลุ่มข้าวสาร ข้าวกล้องหอมมะลิบรรจุถุงบ้านเขานางต่วม เลขที่ 74/1 ม.1 จำนวนสมาชิก 18 คน เงินทุน 22,000.- บาท

                     2. กลุ่มผู้เลี้ยงกบบ้านโคกสะอาด เลขที่ 73/4 ม.6 จำนวนสมาชิก 18 คน เงินทุน              22,000.- บาท

ศูนย์ส่งเสริมและผลิตพันธุ์ข้าวชุมชนบ้านเขานางต่วม เลขที่ 56 ม.1 จำนวนสมาชิก 20 คน เงินทุน         งต่วมกบบ้านโคกสะอาด เลขที่ ่วม เลขที่ 15ถ-มภใข 153 153,467.- บาท

                     3. กลุ่มผู้ผลิตข้าวหอมมะลิบ้านเขานางต่วมใต้ เลขที่ 109/2 ม.15 จำนวนสมาชิก 98 คน เงินทุน 244,200.- บาท

                     4. กลุ่มผู้ผลิตข้าวหอมมะลิบ้านเขานางต่วมเหนือ เลขที่ 58/3 ม.16 จำนวนสมาชิก 96 คน เงินทุน 243,880.- บาท

                     5. กลุ่มเลี้ยงโคบ้านอุดมพัฒนา เลขที่ 2 ม.7 จำนวนสมาชิก 9 คน เงินทุน 2,400.- บาท

                     6. กลุ่มวิสาหกิจชุมชนไม้เศรษฐกิจบ้านอุดมพัฒนา เลขที่ 157/7 ม.7 จำนวนสมาชิก 21 คน เงินทุน 3,394.- บาท

                     1.5 สภาพทางสังคม

                     ศาสนา/ประเพณี/วัฒนาธรรม/ระบบความสัมพันธ์ของคนในชุมชน  ประชากรภายในตำบลวังบ่อ 100% นับถือศาสนาพุทธ ดังนี้

                     -  วัด                        11  แห่ง                   

                     -  สำนักสงฆ์                  2  แห่ง

                     สภาพการดำเนินชีวิต ความเป็นอยู่ของประชากรจะอาศัยอยู่รวมกันตามลักษณะของสังคมไทยสมัย ก่อน อยู่อย่างเรียบง่าย รักความสงบ จะมีบางส่วนเริ่มแยกตัวออกมามีครอบครัวของตนเองและมีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้นตามยุคสมัย การจัดการในครัวเรือนขึ้นอยู่กับผู้นำครอบครัวประชาชนส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ

ด้านโครงสร้างพื้นฐาน (ระบบบริการสาธารณูปโภคขั้นพื้นฐาน)

การคมนาคม

                     สภาพถนนในตำบลวังบ่อ มีถนนสายหลักเป็นถนนลาดยางและถนนลูกรัง ถนนภายในหมู่บ้านเป็นถนนคอนกรีต ส่วนถนนเชื่อมระหว่างถนนสายหลักกับภาคเกษตรกรรมเป็นถนนลูกรัง และถนนดิน ซึ่งการคมนาคมภายในตำบลและติดต่อกับตำบลข้างเคียงอยู่ในเกณฑ์ดี การคมนาคมสะดวก ถนนภายในตำบลประกอบด้วยถนนสายหลัก ได้แก่ ถนนสายหลัก (ถนนลาดยาง) จำนวน 3 สาย ซึ่งอยู่ในเกณฑ์พอใช้ มีบางช่วงที่ชำรุด การเดินทางในตำบลสะดวกพอสมควร ในช่วงฤดูฝนถนนลูกรังจะมีน้ำขังทำให้การเดินทางไม่สะดวกเท่าที่ควร แยกรายละเอียดของเส้นทางคมนาคมหลักตามลักษณะต่าง ๆ ภายในตำบล ดังนี้

                     - ถนนลาดยาง                        จำนวน 3 เส้นทาง คือ

                     1) ทางหลวงแผ่นดิน หมายเลข 225 (เส้นทางนครสวรรค์ – ชัยภูมิ) ผ่านตำบลวังบ่อ หมู่ที่ 1,6,7, 10, 11,และ 12

                     2) สายบ้านโคกสะอาด – น้ำสาด ผ่านตำบลวังบ่อ หมู่ที่ 1,2,9 และ 6

                     3) สายวังข่อย – เขานางต่วม ผ่านตำบลวังบ่อ หมู่ที่ 3,4,8,14

                     - ถนนคอนกรีตเสริมเหล็ก                     จำนวน 14 สาย

                     - ถนนลูกรัง                                      จำนวน 15 สาย

                        การโทรคมนาคม 

                     - ที่ทำการไปรษณีย์โทรเลข                    จำนวน 1 แห่ง (สาขา)

                     - ตู้โทรศัพท์สาธารณะ                          จำนวน 23 แห่ง

                     - โทรศัพท์บ้าน                                  จำนวน 119 หลัง

                     - โทรศัพท์มือถือ                                จำนวน 1,182 เครื่อง

                     - หอกระจายข่าวประจำหมู่บ้าน              จำนวน 16 แห่ง

การไฟฟ้า 

                     ปัจจุบันมีไฟฟ้าให้บริการครบทั้ง 16 หมู่บ้าน รวมทั้งการใช้พลังงานแสงอาทิตย์ มีอัตราการใช้ไฟฟ้าคิดเป็นร้อยละ 95 ของพื้นที่ทั้งหมด ส่วนพื้นที่การเกษตรบางแห่งอยู่ห่างไกลระบบไฟฟ้ายังเข้าไม่ถึง จำนวนหลังคาเรือนที่ใช้ไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์จำนวน 42 ครัวเรือน

การประปา 

                     ปัจจุบันมีบริการประปาหมู่บ้าน จำนวน 11 แห่ง จำนวน 15 หมู่บ้าน คือ ม.1,2,3,4,5,6,7,8,9, 10,11,12,14,15 และ ม.16

ข้อมูลด้านการศึกษา

ตำบลวังบ่อ มีสถานศึกษารวมทั้งหมด  14 แห่ง  มีครูจำนวน   คน  และมีนักเรียนจำนวน 621 คน  เป็นอัตราส่วนครู/อาจารย์  ต่อนักเรียน  ประมาณ.........................ในแต่ละสถานศึกษาที่อยู่ในเขตตำบลวังบ่อ มีจำนวนนักเรียน นักศึกษา  ดังนี้

- โรงเรียนประถมศึกษา                        จำนวน 8 แห่ง

                     - โรงเรียนมัธยมศึกษา                          จำนวน 1 แห่ง

                     - ศูนย์ กศน. ตำบล                             จำนวน 1 แห่ง

          - ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก                            จำนวน 4 แห่ง

          ระดับการศึกษาของประชาชนในตำบลวังบ่อ

            การศึกษา                                           เพศชาย                 เพศหญิง                   รวม

                                                        คน       ร้อยละ       คน        ร้อยละ        คน           ร้อยละ

ไมเคยศึกษา                                        ๒๕๐      2.52        287       3.53        492               6.05

อนุบาล/ศูนย์เด็กเล็ก                              115      1.41        129       1.59        244               3.00

ต่ำกว่าชั้นประถมฯ (ป.๔, ป.๗, ป.๖)            127     1.56         139       1.71        266               3.27

ประถมฯ (ป.๔, ป.๗, ป.๖)                                 2,055   25.27      2,062    25.36       4,117      50.63

ม.ต้น (มศ.๑-๓ หรือ ม.๑-๓)                     838     10.30       704        8.66       1,542            18.96

ม.ปลาย (มศ.๔-๕ หรือ ม.๔-๖ หรือ ปวช.)     467      5.74        540       6.64        1,007            12.38

อนุปริญญา หรือเทียบเทา หรือ ปวส.             95      1.17          70       0.86          165               2.03

ป.ตรี หรือเทียบเทา                                100      1.23        189       2.32          289      3.55     

สูงกว่าปริญญาตรี                                     ๕       ๐.06            5       ๐.0๖             10      ๐.12

รวม                                             4,007     49.27     4,125    50.73      8,132    ๑๐๐.๐๐

          จากตารางข้อมูลระดับการศึกษาของประชาชนในอำเภอหนองบัว  พบว่า ระดับประถมฯ (ป.๔, ป.๗, ป.๖) มีจำนวนมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ ๕0.63


กศน.ตำบลวังบ่อ   ในรอบปีที่ผ่านมามีจำนวนนักศึกษาทั้งหมด 136 คน  แยกตามระดับ  ดังนี้

          ภาคเรียนที่  2/2562

                     -ระดับประถมศึกษา                            จำนวน...-............คน

                     -ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น                    จำนวน  31       คน

                     -ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย                 จำนวน  39       คน

          ในการจัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ภาคเรียนที่ 2/2561  มีนักศึกษาจำนวนที่ลงทะเบียนเรียนทั้งหมด  70  คน  มีนักศึกษาคงอยู่  จำนวน   70  คน  มีผู้เข้าสอบจำนวน............คน และมีผู้จบหลักสูตรทั้งหมด  4  คน  คิดเป็นร้อยละ 5.71  แยกตามระดับ  ดังนี้

                     -ระดับประถมศึกษา                  จำนวน..........-........คน     จบหลักสูตรจำนวน.....-.....คน

                     -ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น          จำนวน.........31.........คน  จบหลักสูตรจำนวน.....2.....คน

                     -ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย       จำนวน.........39.........คน  จบหลักสูตรจำนวน.....2.....คน

          ภาคเรียนที่  1/2563

-ระดับประถมศึกษา                            จำนวน...........-...............คน

                     -ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น                    จำนวน..........32................คน

                     -ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย                 จำนวน..........34................คน

          ในการจัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ภาคเรียนที่ 1/2562  มีนักศึกษาจำนวนที่ลงทะเบียนเรียนทั้งหมด......66........คน  มีนักศึกษาคงอยู่  จำนวน  ....66.......คน  มีผู้เข้าสอบจำนวน............คน และมีผู้จบหลักสูตรทั้งหมด.......6..........คน  คิดเป็นร้อยละ  .....9.09...........  แยกตามระดับ  ดังนี้

                     -ระดับประถมศึกษา                  จำนวน.......-...........คน     จบหลักสูตรจำนวน.....-.....คน

                     -ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น          จำนวน.......32...........คน  จบหลักสูตรจำนวน.....2.....คน

                     -ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย       จำนวน.......34..........คน   จบหลักสูตรจำนวน.....4.....คน

          จากข้อมูลดังกล่าวพบว่า  มีจำนวนผู้จบหลักสูตรค่อนข้างน้อย

 ปัญหาและความต้องการทางการศึกษาของประชาชนที่จำแนกตามลักษณะของกลุ่มเป้าหมาย

          ด้านการรู้หนังสือ  ด้านการศึกษาขั้นพื้นฐาน  ด้านอาชีพ  ด้านการพัฒนาทักษะชีวิต  ด้านการพัฒนาสังคมและชุมชน  ด้านปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง  ด้านการศึกษาตามอัธยาศัย

กลุ่มเป้าหมาย

ปัญหาและความต้องการ

แนวทางการแก้ไข

นักศึกษา กศน. ตำบลวังบ่อ

เด็กออกกลางคัน,เด็กขาดโอกาสทางการศึกษา,ประชากรนอกระบบการศึกษา, ต้องการศึกษาต่อเพื่อหาความรู้

ศึกษาต่อในระบบและนอกระบบ

ประชาชน

ลืมหนังสือ,ไม่มีอาชีพ,ขาดทักษะความรู้ในการดำเนินชีวิต

ส่งเสริมผู้ไม่รู้หนังสือ

จัดหาวิชาชีพเสริม

สอดแทรกเนื้อหาหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อเป็นหลักในการดำเนินชีวิต

ตารางวิเคราะห์ข้อมูลสภาพปัญหาสาเหตุและแนวทางแก้ไข

สภาพปัญหา/ความต้องการ

สาเหตุของปัญหา

แนวทางแก้ไข

1.ด้านเศรษฐกิจ

ราคาผลผลิตตกต่ำ

ลดต้นทุนในการผลิต

2.ด้านสังคม

ขาดคุณธรรม จิตอาสา

ให้ความรู้และสร้างจิตสำนึก

3.ด้านการศึกษา

เด็กออกกลางคัน,เด็กขาดโอกาสทางการศึกษา,ประชากรนอกระบบการศึกษา

ให้ศึกษาต่อในระบบและนอกระบบ

ตารางวิเคราะห์การประเมินผลและปัญหาอุปสรรคการดำเนินงานในรอบปีที่ผ่านมา

ผลการประเมินปัญหาและอุปสรรค

แนวทางการพัฒนา

ยังขาดความรู้และโอกาสทางการศึกษา

จัดอบรมให้ความรู้ ส่งเสริมให้ได้รับการศึกษา

ในด้านอาชีพ ขาดช่องทางในการจัดจำหน่าย

ให้ความรู้และช่องทางการจัดจำหน่ายผ่านระบบออนไลน์

ประชาชนไม่ให้ความสนใจในการอ่านหนังสือ

ส่งเสริมการอ่าน โดยจัดตั้งบ้านหนังสือชุมชนขึ้นในชุมชน

ขาดคุณธรรม จริยธรรม และจิตสาธารณะ

ให้ความรู้สร้างจิตสำนึกในเรื่องของคุณธรรม จริยธรรมและการบำเพ็ญประโยชน์ต่อส่วนรวม

Super User