อาคารกศน.ตำบลหัวดง หมู่ 11 ต.หัวดง อ.เก้าเลี้ยว จ.นครสวรรค์ 60230 056 299377 ครูโอเล่ 086 938 4047 : ครูกอล์ฟ 062 423 1415 loveole@29gmail.com/natkrit.golf@gmail.com วันจันทร์-วันศุกร์ เวลา 09.00 น.-16.30 น.
ครู กศน.ตำบลหัวดง

S 28508163

นางสาวณัฐกฤตา ฤทธิ์เทพ

ตำแหน่ง ครู กศน.ตำบล

 เบอร์โทร 062-4231415

141837 

นายอภิเชษฐ์  ทรัพย์สำราญ

ตำแหน่ง ครู กศน.ตำบล

 เบอร์โทร 086-9384047

แพลตฟอร์ม กศน.นครสวรรค์

ข่าวล่าสุด
จำนวนผู้เข้าใช้งานเว็บไซต์
028098
วันนี้
เมื่อวานนี้
สัปดาห์นี้
สัปดาห์ที่แล้ว
เดือนนี้
เดือนที่แล้ว
ผู้เข้าชมทั้งหมด
14
57
149
27792
856
644
28098

Your IP: 192.168.1.1
2024-03-29 02:31

แหล่งเรียนรู้โคกหนองนาโมเดล ตำบลหัวดง อำภอเก้าเลี้ยว

แหล่งเรียนรู้โคกหนองนาโมเดล ตำบลหัวดง อำเภอเก้าเลี้ยว จังหวัดนครสวรรค์

 ณ โคก หนอง นา โมเดล นายณรงค์  เฮงปถม บ้านเลขที่ ๗๔/๘ ม.5 ต.หัวดง อ.เก้าเลี้ยว จ.นครสวรรค์

131248217 2248092371991652 4638093844720357233 n

โคก หนอง นา โมเดล ซึ่งเป็นการพัฒนาชุมชนให้ชุมชนมีความเข้มแข็ง ต้องให้ชุมชนสามารถพึ่งพาตนเองได้อย่างยั่งยืน จึงต้องนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาเป็นแนวทางในการใช้ชีวิต โดยการส่งเสริม สนับสนุน ชักจูง และให้ความรู้ แนะแนวทางการปฏิบัติในระดับครัวเรือน ให้ทุกครัวเรือนปฏิบัติให้ได้อย่างน้อย ๓ เรื่อง ได้แก่ 1.ให้ทุกครัวเรือนได้มีความมั่นคงทางอาหาร 2. การสร้างสิ่งแวดล้อมให้ยั่งยืน 3.การสร้างภูมิคุ้มกันทางสังคม และอีกสิ่งหนึ่งที่สำคัญ คือการส่งเสริม  ปรับทัศนคติ ให้ประชาชนพัฒนาหาความรู้ มีการเรียนรู้ตลอดชีวิต เพื่อนำความรู้ และคุณธรรม มาเป็นพื้นฐานในการพัฒนาตนเอง เพื่อเดินตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และต้องไม่ละทิ้งวิถีชีวิต ภูมิปัญญาของตนเอง

ดาวน์โหลด 1

ดาวน์โหลด 2

 ดังนั้น การที่จะพัฒนาชุมชนได้อย่างแท้จริง ต้องอาศัยการเรียนรู้ให้ลึกซึ้งจากชาวบ้านว่าเขามีวิถีชีวิตกันอย่างไร ไม่พยายามยัดเยียด เปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตของเขา และส่งเสริมให้เขารู้จักรักษา ต่อยอดภูมิปัญญาอันทรงค่าของแต่ละที่ไว้ ไม่ให้สูญหาย

 “โคก หนอง นา โมเดล” เป็นการจัดการพื้นที่ให้เหมาะสมกับการเกษตรซึ่งเป็นการผสมผสานเกษตรทฤษฎีใหม่ เข้ากับภูมิปัญญาพื้นที่อยู่อย่างสอดคล้องกับธรรมชาติในพื้นที่นั้น ๆ โคก หนอง นา โมเดล เป็นการให้ธรรมชาติจัดการตัวมันเองโดยมี มนุษย์เป็นส่วนส่งเสริมให้มันสำเร็จเร็วขึ้น อย่างเป็นระบบ
 การเอามื้อสามัคคี หรือการลงแขกตามประเพณีดั้งเดิมของคนไทยมาเป็นกลวิธีในการขับเคลื่อน เพื่อประสานความสามัคคี และเชื่อมโยงเครือข่ายต่าง ๆ ไว้ด้วยกัน



 

 

 

 

 

 

 

นางสาวณัฐกฤตา ฤทธิ์เทพ